การกำหนดหลักการออกแบบที่เรียกว่า Design Concept ควรจะกำหนดหัวข้อการป้องกันอัคคีภัยไว้ด้วย สถาปนิกสามารถกำหนด Design Concept ที่เอื้ออำนวยต่อการป้องกันอัคคีภัย ได้ดังนี้
1. การแบ่งพื้นที่ป้องกันไฟและควันไฟการแบ่งพื้นที่ป้องกันไฟและควันไฟ
ตัวอย่าง การออกแบบอาคารสำนักงานที่ส่วนล่าง 5 ชั้นเป็นธนาคาร และส่วนบน 25 ชั้นเป็นสำนักงานให้เช่าขนาดเล็กหน่วยละ5 ชั้นเป็นธนาคาร และส่วนบน 25 ชั้นเป็นสำนักงานให้เช่าขนาดเล็กหน่วยละ50 ตร.ม. การแบ่งพื้นที่ป้องกันไฟส่วนล่าง และส่วนบนออกจากกันด้วยพื้นที่ทานอาหาร สวน และสันฑนาการที่ใช้การระบายอากาศตามธรรมชาติ บริเวณโถงทางเดินในส่วนบนของอาคารเปิดเป็น Atrium แต่มีการเจาะใช้เป็นร่องข้างอาคารตลอดความสูง และเปิดช่องระบายอากาศที่ยอดอาคาร ผนังกั้นระหว่างหน่วยใช้ผนังยิปซั่ม ซึ่งกันไฟได้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง ทางเดินสู่ทาง
หนีไฟมีลักษณะเป็นระเบียงภายนอกและนำสู่ทางหนีไฟ 2 ทาง
2. การหนีไฟ
ตัวอย่าง อาคารที่มี Atrium ที่มีหลังคาปิด โดยหลังคาออกแบบให้เป็นโดมที่เป็นปริมาตรรับควัน (Smoke Reservoir) เพื่อชลอการกระจายควันไฟเข้าสู่ชั้นบนของอาคาร และจัดให้มีระบบระบายควันออกจากโดมนี้ ในกรณีที่มี Auditorium อยู่ในชั้นบน บันไดหนีไฟจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอในการหนีไฟสำหรับคนจำนวนมาก ทางหนีไฟมีอย่างน้อย 2 ทาง และมีประตูห้องที่มีคนเกิน 50 คน จะเปิดออกสู่ทางหนีไฟ
3. การระบายควันไฟการระบายควันไฟ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการระบายอากาศตามธรรมชาติ ซึ่งช่วยในการระบายควันไฟเมื่อเกิดอัคคีภัย
Firehouse
บล็อกที่รวบรวมเรื่องราวความรู้ของอัคคีภัย สาเหตุและการป้องกัน ทั้งกฎหมายเกี่ยวกับอัคคีภัย ระบบและอุปกรณ์ที่ใช้ระงับเหตุอัคคีภัย พร้อมคลิ๊ปและภาพเหตูการต่างๆ
15 ก.ย. 2554
13 ก.ย. 2554
มาตรฐานและกฎหมาย
พรบ.ควบคุมอาคาร.ควบคุมอาคาร
พรบ.ฉบับนี้ได้ประกาศใช้เป็นฉบับแรกในปี พ.ศ. 2522 และฉบับที่ 2 ในปี พ.ศ. 2535 เพื่อใช้ควบคุมการก่อสร้างอาคาร โดยมีกรมโยธาธิการ สังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รับผิดชอบในการร่างกฎกระทรวง และมีคณะกรรมการควบคุมอาคาร ประกอบด้วยผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการควบคุมอาคาร ผู้แทนจากหน่วยงานราชการ และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ยกร่างและปรับปรุงกฎกระทรวง ในขณะนี้ กำลังพิจารณากฎกระทรวงใหม่ ภายใต้พรบ.ควบคุมอาคารฉบับที่ 3.
ในปัจจุบัน มีกฎกระทรวงอยู่ 51 ฉบับ และกฎกระทรวงฉบับที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอัคคีภัยที่สำคัญได้แก่
ฉบับที่ 33( 2535 ) - ข้อกำหนดสำหรับอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ
ฉบับที่ 39( 2537 ) - ข้อกำหนดสำหรับห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว บ้านแฝด อาคารชุมนุม อาคารอยู่อาศัยเกิน 4 หน่วย หอพัก อาคารที่สูงเกิน 3
ฉบับที่ 47( 2540 ) - ข้อกำหนดสำหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารสาธารณะ อาคารอยู่อาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร สำนักงาน (อาคารเก่า)
ฉบับที่ 48( 2540 ) - ข้อกำหนดอัตราการทนไฟของโครงสร้างอาคาร
ฉบับที่ 50( 2540 ) - มีข้อกำหนดเพื่อปรับปรุงข้อกำหนดในกฎกระทรวงที่ 33
พรบ.ฉบับนี้ไม่ครอบคลุมการใช้งานประจำวัน จึงไม่มีการตรวจสอบการทำงานของระบบความปลอดภัยว่าทำงานได้หรือไม่ ส่วนใหญ่ ระบบดังกล่าว จึงถูกละเลย และมักจะไม่อยู่ในสภาพ ที่พร้อมที่จะใช้งาน อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่ายินดีที่มีข่าวว่าใน พรบ..ฉบับนี้ไม่ครอบคลุมการใช้งานประจำวัน จึงไม่มีการตรวจสอบการทำงานของระบบความปลอดภัยว่าทำงานได้หรือไม่ ส่วนใหญ่ ระบบดังกล่าว จึงถูกละเลย และมักจะไม่อยู่ในสภาพ ที่พร้อมที่จะใช้งาน อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่ายินดีที่มีข่าวว่าใน พรบ.ควบคุมอาคารฉบับที่ 3 จะให้ความสำคัญเรื่องการตรวจสอบระบบความปลอดภัยของอาคาร และ ยังจะมีข้อกำหนดเรื่องการให้มีการประกันภัยสำหรับผู้ใช้อาคาร ซึ่งจะมีผลทำให้การประกันภัย เห็น ความสำคัญ ของชีวิตมากขึ้น จากเดิมที่ให้ความสำคัญเฉพาะทรัพย์สิน และจะมีข้อกำหนดเพื่อให้มีการตรวจสภาพอาคารและการต่ออายุการใช้อาคาร ซึ่งจะ ลดการลักลอบ ดัดแปลงการใช้อาคาร และจะทำให้เกิดมาตรการเพื่อดูแลให้ระบบความปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
พรบ.ฉบับนี้ได้ประกาศใช้เป็นฉบับแรกในปี พ.ศ. 2522 และฉบับที่ 2 ในปี พ.ศ. 2535 เพื่อใช้ควบคุมการก่อสร้างอาคาร โดยมีกรมโยธาธิการ สังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รับผิดชอบในการร่างกฎกระทรวง และมีคณะกรรมการควบคุมอาคาร ประกอบด้วยผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการควบคุมอาคาร ผู้แทนจากหน่วยงานราชการ และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ยกร่างและปรับปรุงกฎกระทรวง ในขณะนี้ กำลังพิจารณากฎกระทรวงใหม่ ภายใต้พรบ.ควบคุมอาคารฉบับที่ 3.
ในปัจจุบัน มีกฎกระทรวงอยู่ 51 ฉบับ และกฎกระทรวงฉบับที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอัคคีภัยที่สำคัญได้แก่
ฉบับที่ 33( 2535 ) - ข้อกำหนดสำหรับอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ
ฉบับที่ 39( 2537 ) - ข้อกำหนดสำหรับห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว บ้านแฝด อาคารชุมนุม อาคารอยู่อาศัยเกิน 4 หน่วย หอพัก อาคารที่สูงเกิน 3
ฉบับที่ 47( 2540 ) - ข้อกำหนดสำหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารสาธารณะ อาคารอยู่อาศัยรวม โรงงาน ภัตตาคาร สำนักงาน (อาคารเก่า)
ฉบับที่ 48( 2540 ) - ข้อกำหนดอัตราการทนไฟของโครงสร้างอาคาร
ฉบับที่ 50( 2540 ) - มีข้อกำหนดเพื่อปรับปรุงข้อกำหนดในกฎกระทรวงที่ 33
พรบ.ฉบับนี้ไม่ครอบคลุมการใช้งานประจำวัน จึงไม่มีการตรวจสอบการทำงานของระบบความปลอดภัยว่าทำงานได้หรือไม่ ส่วนใหญ่ ระบบดังกล่าว จึงถูกละเลย และมักจะไม่อยู่ในสภาพ ที่พร้อมที่จะใช้งาน อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่ายินดีที่มีข่าวว่าใน พรบ..ฉบับนี้ไม่ครอบคลุมการใช้งานประจำวัน จึงไม่มีการตรวจสอบการทำงานของระบบความปลอดภัยว่าทำงานได้หรือไม่ ส่วนใหญ่ ระบบดังกล่าว จึงถูกละเลย และมักจะไม่อยู่ในสภาพ ที่พร้อมที่จะใช้งาน อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่ายินดีที่มีข่าวว่าใน พรบ.ควบคุมอาคารฉบับที่ 3 จะให้ความสำคัญเรื่องการตรวจสอบระบบความปลอดภัยของอาคาร และ ยังจะมีข้อกำหนดเรื่องการให้มีการประกันภัยสำหรับผู้ใช้อาคาร ซึ่งจะมีผลทำให้การประกันภัย เห็น ความสำคัญ ของชีวิตมากขึ้น จากเดิมที่ให้ความสำคัญเฉพาะทรัพย์สิน และจะมีข้อกำหนดเพื่อให้มีการตรวจสภาพอาคารและการต่ออายุการใช้อาคาร ซึ่งจะ ลดการลักลอบ ดัดแปลงการใช้อาคาร และจะทำให้เกิดมาตรการเพื่อดูแลให้ระบบความปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)