บล็อกที่รวบรวมเรื่องราวความรู้ของอัคคีภัย สาเหตุและการป้องกัน ทั้งกฎหมายเกี่ยวกับอัคคีภัย ระบบและอุปกรณ์ที่ใช้ระงับเหตุอัคคีภัย พร้อมคลิ๊ปและภาพเหตูการต่างๆ
28 ก.ค. 2554
Standpipe and Hose System(2)
หัวรับน้ำดับเพลิง ต้องจัดให้มีอย่างน้อย1 หัว สำหรับท่อยืนประเภทที่ 1 และ 3 สำหรับหัว สำหรับท่อยืนประเภทที่ 1 และ 3 สำหรับอาคารที่มีความสูงมากและมีการแบ่งระบบท่อยืนออกเป็นโซนพื้นที่ ซึ่งจะต้องจัดให้มีหัวรับน้ำดับเพลิงสำหรับแต่ละโซนพื้นที่ โดยทั่วไปหัวรับน้ำดับเพลิงจะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ คือออกเป็นโซนพื้นที่ ซึ่งจะต้องจัดให้มีหัวรับน้ำดับเพลิงสำหรับแต่ละโซนพื้นที่ โดยทั่วไปหัวรับน้ำดับเพลิงจะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ คือ
1. ไม่มีวาล์วปิด-เปิดติดตั้งระหว่างหัวรับน้ำดับเพลิงกับระบบท่อยืนไม่มีวาล์วปิด-เปิดติดตั้งระหว่างหัวรับน้ำดับเพลิงกับระบบท่อยืน
2. ให้ติดตั้งวาล์วกันย้อนกลับสำหรับหัวรับน้ำดับเพลิงทุกจุดที่ต่อเข้ากับระบบท่อยืนให้ติดตั้งวาล์วกันย้อนกลับสำหรับหัวรับน้ำดับเพลิงทุกจุดที่ต่อเข้ากับระบบท่อยืน
3. หัวรับน้ำดับเพลิงจะต้องเป็นชนิดข้อต่อสวมเร็วตัวผู้พร้อมฝาครอบตัวเมียและโซ่คล้องหัวรับน้ำดับเพลิงจะต้องเป็นชนิดข้อต่อสวมเร็วตัวผู้พร้อมฝาครอบตัวเมียและโซ่คล้อง
4. หัวรับน้ำดับเพลิงจะต้องติดตั้งอยู่ในพื้นที่ที่พนักงานดับเพลิงสามารถเข้าถึงได้สะดวกและไม่มีอุปสรรคกีดขวางใดๆและควรอยู่ใกล้กับหัวจ่ายน้ำดับเพลิงสาธารณะ (Public Hydrant)
5. ให้มีป้ายตัวอักษรอ่านได้ชัดเจนโดยมีขนาดอักษรสูงไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว)แสดงถึงระบบท่อว่าเป็นประเภทใด เช่น “ระบบท่อยืน” หรือถ้าจ่ายให้กับระบบหัวกระจายน้ำดับเพลิงด้วย เช่น “ระบบท่อยืนและหัวกระจายน้ำดับเพลิง” เป็นต้น
6. ในกรณีหัวรับน้ำดับเพลิงจ่ายให้เฉพาะบางโซนพื้นที่ของอาคาร จะต้องจัดให้มีป้ายตัวอักษรบ่งบอกอย่างชัดเจนว่าจ่ายน้ำให้กับโซนพื้นที่ใดของอาคารในกรณีหัวรับน้ำดับเพลิงจ่ายให้เฉพาะ
บางโซนพื้นที่ของอาคาร จะต้องจัดให้มีป้ายตัวอักษรบ่งบอกอย่างชัดเจนว่าจ่ายน้ำให้กับโซนพื้นที่ใดของอาคาร
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น